ข่่าวสาร : สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย | คปภ.

วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556

เรื่อง การประกันภัย (Insurance)

ความสำคัญและประโยชน์ของการประกันภัย
ในการวางแผนทางการเงินควรคำนึงถึงความเสี่ยงภัยที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่ง
ที่มีผลกระทบต่อระบบการวางแผนทางการเงินของบุคคล
 
การวางแผนการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน ควรเริ่มจาก
เขียนรายจ่ายที่ต้องจ่ายในแต่ละเดือน เรียงจากความจำเป็นมากไปน้อย
นำรายการค่าใช้จ่ายทั้งหมดมารวมกัน และเปรียบเทียบกับรายได้ของตนเอง
ปรับเปลี่ยนรายจ่ายให้เมาะสมกับรายได้ที่ได้รับ
ควรมีการแบ่งเงินก้อนหนึ่งไว้เพื่อการออม โดยประเมินความสามารถในการออมของตนเองว่าสามารถทำได้มากน้อยเพียงใด และควรมีการออมอย่างสม่ำเสมอ

การประกันภัย  เป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งที่สามารถช่วยบรรเทาความเดือดร้อนเมื่อเกิดความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินต่าง ๆ ที่ได้ทำประกันภัยไว้  โดยการเฉลี่ยหรือการกระจายความเสียหายไปยังสมาชิกที่ทำประกันภัย  โดยมีบริษัทประกันภัยเป็นผู้ทำหน้าที่เก็บเบี้ยประกันและชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ตามที่ระบุไว้ในสัญญา 


วันอังคารที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2555

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ทำไม? กฎหมายต้องบังคับให้ทำประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.



การประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (พรบ.)

ทำไมกฎหมายต้องบังคับให้ทำประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.



การที่รัฐออกกฎหมายกำหนดให้รถทุกคันต้องจัดให้มีประกันภัย อย่างน้อยที่สุด คือ การทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้ประสบภัยจากรถ ที่ได้รับบาดเจ็บ/ เสียชีวิต เพราะเหตุประสบภัยจากรถ โดยให้ได้รับ



การรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงทีกรณีบาดเจ็บ หรือช่วยเป็นค่าปลงศพกรณีเสียชีวิต


- เป็นหลักประกันให้กับโรงพยาบาล / สถานพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาล ในการรับรักษาพยาบาลผู้ประสบภัยจากรถ
- เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหาย เพราะเหตุประสบภัยจากรถ
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือน ร้อน แก่ผู้ประสบภัยและครอบครัว


ใครมีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถ / โทษการไม่ทำประกันภัย


-ผู้มีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถ ได้แก่ เจ้าของรถผู้ครอบครองรถ ในฐานะผู้เช่าซื้อรถ และผู้นำรถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ
- การฝ่าฝืนไม่จัดให้มีการทำประกันภัยรถ พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กำหนดให้ระวางโทษปรับไม่เกินบาท (หนึ่งหมื่นบาท) 10,000.-
ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.


- ผู้ประสบภัย อันได้แก่ ประชาชนทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ ผู้โดยสารคนเดินเท้า หากได้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุที่เกิดจากรถ ก็จะได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ. นี้
- ทายาทของผู้ประสบภัยข้างต้น กรณีผู้ประสบภัยเสียชีวิต
- บริษัทใดฝ่าฝืนไม่รับประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. คุ้มครอง ฯ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 25,000 บาท

ขอขอบคุณแหล่งที่มา :
 http://www.myhobby.smfnew.com
http://www.cinsurebroker.com/

ความรู้เรื่องประกันภัยรถยนต์เบื้องต้น



การประกันภัยรถตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (พรบ.)

ทำไมกฎหมายต้องบังคับให้ทำประกันภัยรถตาม พ.ร.บ.



การที่รัฐออกกฎหมายกำหนดให้รถทุกคันต้องจัดให้มีประกันภัย อย่างน้อยที่สุด คือ การทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนผู้ประสบภัยจากรถ ที่ได้รับบาดเจ็บ/ เสียชีวิต เพราะเหตุประสบภัยจากรถ โดยให้ได้รับ


การรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงทีกรณีบาดเจ็บ หรือช่วยเป็นค่าปลงศพกรณีเสียชีวิต
- เป็นหลักประกันให้กับโรงพยาบาล / สถานพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาล ในการรับรักษาพยาบาลผู้ประสบภัยจากรถ
- เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหาย เพราะเหตุประสบภัยจากรถ
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือน ร้อน แก่ผู้ประสบภัยและครอบครัว
ใครมีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถ / โทษการไม่ทำประกันภัย
-
 ผู้มีหน้าที่ต้องทำประกันภัยรถ ได้แก่ เจ้าของรถผู้ครอบครองรถ ในฐานะผู้เช่าซื้อรถ และผู้นำรถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ
- การฝ่าฝืนไม่จัดให้มีการทำประกันภัยรถ พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กำหนดให้ระวางโทษปรับไม่เกินบาท (หนึ่งหมื่นบาท)
 10,000.-
ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ.


- ผู้ประสบภัย อันได้แก่ ประชาชนทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ ผู้โดยสารคนเดินเท้า หากได้รับความเสียหายแก่ชีวิต ร่างกาย อนามัย อันเนื่องมาจากอุบัติเหตุที่เกิดจากรถ ก็จะได้รับความคุ้มครองตาม พ.ร.บ. นี้
- ทายาทของผู้ประสบภัยข้างต้น กรณีผู้ประสบภัยเสียชีวิต
- บริษัทใดฝ่าฝืนไม่รับประกันภัยรถตาม พ.ร.บ. คุ้มครอง ฯ ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ 50,000 บาท ถึง 25,000 บาท

ขอขอบคุณแหล่งที่มา :
 http://www.myhobby.smfnew.com
http://www.cinsurebroker.com/